หน่วยวิจัยโรคติดเชื้อ

คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

(Infectious Diseases Research Unit; IDRU)

โครงการตอบสนองต่อวัตถุประสงค์กลยุทธ์

ยุทธศาสตร์ที่ 2: ด้านการพัฒนางานวิจัยและสร้างนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน
การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและความมั่นคงของท้องถิ่น ประเทศ และสากล และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 2 ของแผนการศึกษาแห่งชาติ (2560-2579) ซึ่งกำหนดให้มีการผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

กลยุทธ์:

  • ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย การแสวงหาความร่วมมือและงบประมาณสนับสนุนทางการวิจัยจากแหล่งทุน หน่วยงานและองค์กรต่างๆ
  • สร้างและพัฒนาทีมวิจัยบัณฑิตศึกษา ระบบพี่เลี้ยง และการบูรณาการสหวิทยาการ
  • ส่งเสริมการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยและการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์
  • สร้างขวัญและกำลังใจคณาจารย์นักวิจัยที่ประสบผลสำเร็จ

ตัวชี้วัด:

  • จำนวนอาจารย์และบุคลากรในกลุ่มวิจัยได้รับทุนอุดหนุนโครงการวิจัยจากแหล่งทุนต่างๆ
  • จำนวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาที่ทำงานวิจัยในกลุ่มวิจัย
  • จำนวนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ

 

หลักการและเหตุผล

            มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้กำหนดวิสัยทัศน์ในการเป็นมหาวิทยาลัยที่มุ่งเน้นการศึกษาวิจัย โดยการผลิตผลงานวิจัยในทุกสาขาวิชาให้มีคุณภาพและสามารถแข่งขันได้ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน การถ่ายทอดเทคโนโลยี และการนำไปใช้ประโยชน์สำหรับการพัฒนาท้องถิ่นและประเทศ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้กำหนดเป้าหมายและวางวิสัยทัศน์ให้สอดรับกับแนวนโยบายของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คือ “คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีความเป็นเลิศด้านวิชาชีพและการวิจัยในระดับสากล” ซึ่งคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นคณะหนึ่งทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพที่มีศูนย์วิจัยและหน่วยวิจัยที่เข้มแข็ง และมุ่งเน้นการศึกษาค้นคว้าวิจัยในหลากหลายสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์ โดยสามารถผลิตบัณฑิตโดยเฉพาะในระดับบัณฑิตศึกษาปริญญาโทและเอกจำนวนไม่น้อยในแต่ละปีการศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 12 (ระหว่างปี พ.ศ. 2560-2564) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้กำหนดเป้าหมายให้เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติที่มีคุณภาพระดับโลก ที่มุ่งเน้นด้านสุขภาพ ผู้สูงวัย และการพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมการศึกษาวิจัย  ซึ่งหนึ่งในปัญหาด้านสุขภาพที่สำคัญคือ การติดเชื้อโรคต่างๆ ทั้งแบคทีเรีย ราและไวรัสในกลุ่มประชากรทั้งระดับประเทศ ภูมิภาคและระดับโลก ซึ่งตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันพบการติดเชื้อจุลชีพอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ปัญหาการดื้อยาหลายขนานในจุลชีพซึ่งนำไปสู่การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อที่ไม่มีประสิทธิผลก็พบเพิ่มมากขึ้น การจัดการกับโรคติดเชื้อ แนวทางการรักษา การค้นหาสารต้านจุลชีพและการประยุกต์ใช้สารต้านจุลชีพเพื่อรักษาโรคติดเชื้อดื้อยา จึงเป็นความต้องการอย่างเร่งด่วนที่ทุกฝ่ายกำลังให้ความสนใจ การจัดตั้งกลุ่มวิจัยโรคติดเชื้อโดยการบูรณาการภายในสาขาหรือระหว่างสาขาวิชาทั้งภายในและภายนอกคณะ จึงเป็นจุดเริ่มต้นในการกำหนดแนวนโยบายและทิศทางการวิจัยของคณะฯในเรื่องของโรคติดเชื้อซึ่งเป็นเป้าหมายสำคัญอันหนึ่งในการขับเคลื่อนองค์กรให้มุ่งสู่จุดหมายเพื่อความเป็นเลิศด้านการวิจัยและความเป็นสากล

 

วัตถุประสงค์ (Field of Interests)

  • เพื่อสร้างกลุ่มวิจัยโรคติดเชื้อที่เข้มแข็งของคณะเทคนิคการแพทย์ ส่งเสริมให้มีการทำงานเป็นทีมโดยอาศัยศักยภาพและความเชี่ยวชาญในแต่ละสาขาของนักวิจัย ซึ่งจะทำให้การทำงานเกี่ยวกับโรคติดเชื้อของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
  • เพื่อสนับสนุนกลุ่มวิจัยโรคติดเชื้อให้ดำเนินการในด้านกิจกรรมต่างๆ เช่น การขอรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่างๆ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จ
  • เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนคณาจารย์ นักวิจัยรุ่นใหม่และนักศึกษาบัณฑิตศึกษาให้สามารถทำงานวิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยอาศัยกลุ่มวิจัยเป็นพี่เลี้ยง
  • เพื่อสนับสนุนการนำเสนอผลงานวิจัย การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยและการนำผลงานการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับโรคติดเชื้อต่างๆ ไปประยุกต์ใช้

 

ความเชี่ยวชาญ (Specialties)

            กลุ่มวิจัยโรคติดเชื้อเริ่มจัดตั้งโดยคณาจารย์ภายในแขนงวิชาจุลชีววิทยาคลินิก โดยมีความสนใจในด้านต่างๆ ได้แก่ กลุ่มวิจัยวัณโรคและวัณโรคดื้อยา กลุ่มวิจัยไวรัส  กลุ่มวิจัยเชื้อราฉวยโอกาส เป็นต้น สมาชิกภายในกลุ่มวิจัยมุ่งเน้นการศึกษาและพัฒนาการตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อวัณโรคและวัณโรคดื้อยา และมัยโคแบคทีเรียอื่นๆ การตรวจวินิจฉัยการติดเชื้ออหิวาต์ และเชื้อก่อโรคชนิดต่างๆ  การศึกษาโปรตีโอมิกซ์ (proteomics) ของเชื้อวัณโรค การศึกษาผลของสารสกัดพรอพโพลิสต่อเชื้อราฉวยโอกาสและเชื้อราก่อโรคในระบบประสาท การศึกษาการดื้อต่อยาต้านจุลชีพในมนุษย์ สัตว์ และสิ่งแวดล้อมตามแนว (one health approach) การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับเชื้อไวรัสเอชไอวี ไวรัสตับอักเสบชนิดต่างๆ ไวรัสซิกกา การค้นหา วิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับสารต้านจุลชีพชนิดต่างๆ เช่น สารสกัดจากพืชสมุนไพร เปปไทด์ต้านจุลชีพ นอกจากนี้ยังมีความสนใจในการใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยาเพื่อเป็นเครื่องมือในการตรวจวินิจฉัย ตรวจติดตามการรักษาโรคติดเชื้อต่างๆ เช่น การตรวจหาเชื้อ B. pseudomallei โดยใช้ชุดตรวจ Lateral flow หรือการใช้เทคนิค multiplex PCR เพื่อใช้ในการตรวจหาเชื้อ B. pseudomallei ในดิน เป็นต้น

ความร่วมมือกับหน่วยงานภายในคณะฯ (Internal Collaboration)

  • ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีชีวการแพทย์
  • หน่วยวิจัย PHPT (Program for HIV Prevention and Treatment)
  • ศูนย์บริการเทคนิคการแพทย์
  • หน่วยบริการจุลชีววิทยาคลินิก (Clinical Microbiology Service Unit)

 

ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกคณะฯ (External Collaboration)

  • สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
  • คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ภาควิชาคลินิกสัตว์บริโภค,คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ภาควิชาชีวศาสตร์ทางสัตวแพทย์และสัตวแพทย์สาธารณสุข, คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ภาควิชาวิทยาภูมิคุ้มกัน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ และผู้ป่วยวัณโรค, สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช)
  • ศูนย์วิจัยโรคเอดส์, ศูนย์ประสานความร่วมมือระหว่าง ไทย ออสเตรเลีย เนเธอร์แลนด์ The HIV Netherlands Australia Thailand Research Collaboration (HIV-NAT)
  • The Milner Centre for Evolution (Professor Dr. Samuel K. Sheppard and Dr. Ben Pascoe) Department of Biology and Biotechnology, University of Bath ( http://www.sheppardlab.com/)
  • School of Life Sciences (Professor Dr. Elizabeth M. H. Wellington), The University of Warwick, Coventry CV4 7AL, United Kingdom (http://www2.warwick.ac.uk/fac/sci/lifesci/people/ewellington/ or http://www2.warwick.ac.uk/fac/cross_fac/wesic/people/

 

แหล่งทุนวิจัย

  • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (The Thailand Research Fund) หรือ สกว.
  • สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
  • สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)
  • โครงการพัฒนานักวิจัยและงานวิจัยเพื่ออุตสาหกรรม (พวอ.)
  • สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

 

 

10. สมาชิกกลุ่ม

ผศ.ดร. สรศักดิ์ อินทรสูต           E-mail: sorasak.in@cmu.ac.th (ประธานกลุ่มวิจัยฯ)

ผศ.ดร. ขจรศักดิ์ ตระกูลพัว       E-mail: khajornsak.tr@cmu.ac.th (รองประธานกลุ่มวิจัยฯ)

อ. ประพัณฐ์ หลวงสุข               E-mail:  luangsook@hotmail.com

อ.ดร. พลรัตน์ พันธุ์แพ             E-mail: pphunpae@hotmail.com

อ.ดร. เนตรดาว คงใหญ่            E-mail: natedaok@gmail.com

ผศ.ดร. บดินทร์ บุตรอินทร์        E-mail: royter99@hotmail.com

ผศ.ดร. อุษณีย์ อนุกูล               E-mail usanee.anukool@cmu.ac.th

อ.ดร. กัญญา ปรีชาศุทธิ์           E-mail: kanya.p@cmu.ac.th

อ.ดร. ธนวรรณ สำลีรัตน์           E-mail: tanawan.s@cmu.ac.th

อ.ดร. วุฒิชัย คำดวง               E-mail: woottichai.k@cmu.ac.th

ผศ.ดร. ชญาดา สิทธิเดช ธารินเจริญ       E-mail: chayada.si@cmu.ac.th

 

 

  1. งานวิจัยที่สมาชิกให้ความสนใจ

ชื่อ-สกุล

ปริญญาสูงสุด

งานวิจัยที่สนใจ

อ. ประพัณฐ์ หลวงสุข

MSc. (Microbiology)

Mahidol University

- Bacterial identification by molecular method.

- Epidemiology and pathogenicity of clinical bacteria especially in Vibrio and Mycobacterium

อ. ดร.พลรัตน์ พันธุ์แพ

Ph.D. (Biomedical Sciences) 2014

Chiang Mai University

- Development of immunodiagnostic tests for tuberculosis diagnosis and detection of drug resistant Mycobacterium tuberculosis

- Development of new diagnostic method for detection of bacterial infections

- Development of monoclonal antibodies specific to infectious pathogen

ผศ. ดร. ขจรศักดิ์ ตระกูลพัว

Ph.D. (Biomedical Sciences) 2009

Chiang Mai University

Nanotechnology and its application in medicinal plant focus on  antimicrobial susceptibility testing, anti-virulence factors of Candida albicans and Cryptococcus neoformans, and host-microbe interactions

อ. ดร. เนตรดาว คงใหญ่

Ph.D. (Biomedical Sciences) 2012

Chiang Mai University

-   Development of suitable laboratory diagnostic panel for infectious uveitis

-  Epidemiology and clinical trial on viral infections i.e. HIV-1, hepatitis B virus (HBV), hepatitis C virus (HCV), hepatitis D virus (HDV), cytomegalovirus (CMV) and Zika virus.

-  Development of molecular technique for pathogenic bacteria and pathogenic virus detection and identification

ผศ. ดร. สรศักดิ์  อินทรสูต

Ph.D. (Biopharmaceutical sciences) 2007

Mahidol University

-  Antimicrobial peptides (AMPs):  isolation, characterization and antimicrobial activity determination

-  Recombinant protein expression

-  Molecular techniques for bacterial and viral detection and identification

ผศ. ดร.บดินทร์ บุตรอินทร์

Ph.D. (Biotechnology) 2006

Chiang Mai University

-    Mycobacterium tuberculosis microbial biomarker.

-  Metabolic response and metabolic changes of infectious bacteria.

-  Mycobacterium tuberculosis stress mechanism.

-  Biomaterials development for antibacterial antibiotic.

อ. ดร. กัญญา  ปรีชาศุทธิ์

Ph.D. (Medical Sciences) 2014

University of Aberdeen, Scotland

-    Molecular identification of pathogenic yeast

-    Antifungal drugs susceptibility test

-    Microbial drug resistance

ผศ. ดร. อุษณีย์ อนุกูล

Ph.D. (Biological Sciences: Molecular Bacterial Ecology) 2003

University of Warwick, The United Kingdom

-   Antimicrobial-resistance in bacteria

-   Molecular epidemiology and diagnosis of multidrug-resistant bacteria

-   Diagnostic technology and genomics study of tuberculosis and drug-resistant tuberculosis.

อ. ดร.ธนวรรณ สำลีรัตน์

Ph.D. (Sciences de la Vie et de la Santé), University François Rabelais, Tours, France 2008

Ph.D. (Biomedical Sciences), Chiang Mai University 2008

-    Mother-to-child transmission of HIV and Early infant diagnosis (EID)

-    HIV molecular biology, neutralizing antibody, coreceptor usage

-    Clinical and epidemiology of HIV infection

-    HIV drug resistance in adults and infants

-    HPV diagnosis and genotyping

-    Next-generation sequencing of infectious viruses

อ. ดร.วุฒิชัย คำดวง        

Ph.D. (Sciences de la Vie et de la Santé), 2011

Université François Rabelais de Tours, France

Ph.D. (Biomedical Sciences), 2013

Chiang Mai University

- Epidemiology and clinical trial on viral infections i.e. HIV-1, hepatitis B virus (HBV), hepatitis C virus (HCV), or cytomegalovirus (CMV), Zika virus.

- Molecular and in vitro studies of pathogenic viral agents

- Development and establishment of a low cost test for early diagnosis or monitoring of viral infections

- Biological safety of drinking water

ผศ. ดร. ชญาดา สิทธิเดช ธารินเจริญ

Ph.D. (Immunology) 2010

Mahidol University

-    Molecular Microbiology

-    New diagnostic method for detection of infectious pathogen

-    Development of aptamer specific to infectious pathogen

 

งานวิจัยที่สมาชิกกลุ่มวิจัยได้รับทุนสนับสนุนและเป็นหัวหน้าโครงการวิจัย

  • ดำเนินการไปแล้วในรอบ 5 ปี (2556-2560)

ทุนพัฒนานักวิจัยรุ่นกลาง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2559-2560) ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ การสร้างและแสดงออกของเปปไทด์ต้านจุลชีพลูกผสม แอล-31-พี113 ในแบคทีเรีย เอสเชอริเชีย โคไล และการทดสอบฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อจุลชีพ

ทุนวิจัย สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) (2557-2558) ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ การพัฒนา พลาสเตอร์ไฮโดรเจลผสมเปปไทด์ลูกผสม LL-37-Linker-Histatin-5 และการประยุกต์ใช้ในมนุษย์

ทุนวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (2555-2556) ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ การสร้างและสังเคราะห์เปปไทด์ protegrin-1 ในรูป monomer และ dimer ในเซลล์แบคทีเรีย Escherichia coli และการประยุกต์ใช้: การทดสอบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียดื้อยาในหลอดทดลองและการทดสอบในสัตว์ที่ติดเชื้อ

ทุนวิจัยเงินรายได้คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2555-2556) ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ การพัฒนาวิธี confronting two pair primer PCR (CTPP-PCR) รูปแบบใหม่เพื่อใช้ในการแยกเชื้อ Mycobacterium tuberculosis complex ออกจากเชื้อแบคทีเรียชนิดอื่นๆ

ทุนนักวิจัยรุ่นใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2556-2557) ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ การพัฒนาและประเมินประสิทธิภาพวิธีการวินิจฉัยการติดเชื้อวัณโรครูปแบบใหม่ในกลุ่มผู้ติดเชื้อวัณโรค

ทุนวิจัยมุ่งเป้าของ สวทช (2555-2557) ระยะเวลา 2 ปี หัวข้อ ชุดตรวจวินิจฉัยวัณโรครูปแบบใหม่ที่มีความไวสูงที่อาศัยหลักการของ Immunomagnetic separation ร่วมกับวิธี Two-pair confrontingPCR

โครงการสนับสนุนทุนวิจัยรุ่นใหม่ (วท.) ประจำปี 2558 ฝ่ายนักเรียนทุนรัฐบาลกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2557

ทุนงบประมาณเงินรายได้ คณะเทคนิคการแพทย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2557-2558) ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ การศึกษา ความคงทน การปนเปื้อน ของเชื้อวัณโรค และแบคทีเรียก่อโรค บนธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ไทย

ทุนงบประมาณเงินรายได้ คณะเทคนิคการแพทย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2559-2560) ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ การศึกษาเชื้อมัยโคแบคทีเรีย และแบคทีเรียก่อโรค ปนเปื้อนในอากาศและอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล ในโรงคัดแยกเหรียญกษาปณ์และธนบัตรไทย

ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2559 (2559-2560) ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ Real time PCR and high resolution melting (HRM) curve analysis for rapid diagnosis of tuberculosis and multidrug-resistant tuberculosis in Northern Thailand

THOHUN-National Coordinating Office (USAID) ประจำปีงบประมาณ 2559 (2559-2560) ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ Prevalence and risk factors of methicillin-resistant Staphylococcus aureus in swine production personnel in Chiang Mai-Lamphun province, Thailand

ทุนวิจัยจาก NIH (NIH R21TW010202) ประจำปีงบประมาณ 2559 (2559-2560) ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ Rapid treatment guidance for antibiotic-resistant disease at the point of care

โครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2557-2558) ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ การศึกษาการดื้อต่อยาต้านไวรัสเอชไอวีในเด็กที่อายุน้อยกว่า 18 เดือน ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าติดเชื้อเอชไอวี ในประเทศไทย

โครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2558-2559) ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ ประเมินผลการตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวีในทารกเมื่อวันคลอด และประสิทธิผลของการตรวจต่อการได้เริ่มรับยาต้านไวรัสในทารก

 

 กำลังดำเนินการ

ทุนโครงการพัฒนานักวิจัยและงานวิจัยเพื่ออุตสาหกรรม (พวอ) (2559-2562) ระยะเวลา 3 ปี หัวข้อ การหาเปปไทด์ต้านจุลชีพชนิดใหม่จากพืชตระกูลถั่วและงาและการประเมินประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อจุลชีพที่ผิวหนังมนุษย์โดยผสมกับพลาสเตอร์ไฮโดรเจล

ทุนนักวิจัยรุ่นใหม่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (2557-2559) ระยะเวลา 2 ปี หัวข้อ Production of nuclease-resistant RNA aptamers against Mycobacterium avium

ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2559 (เงินงบประมาณแผ่นดิน) (2559-2560) จาก สำนักงานวิจัยแห่งชาติ ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ เทคนิค Real time PCR และ high resolution melting (HRM) curve analysis สำหรับการตรวจวินิจฉัยวัณโรค และวัณโรคดื้อยาหลายขนานที่รวดเร็วในเขตภาคเหนือของประเทศไทย

ทุน สวทช. (2558-2561) ระยะเวลา 3 ปี หัวข้อ การพัฒนาและประเมินแถบตรวจ Lateral Flow Immunoassay ในการวินิจฉัยโรคเมลิออยด์ในสถานพยาบาล

ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 (เงินงบประมาณแผ่นดิน) (2561-2562) จาก สำนักงานวิจัยแห่งชาติ ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ การผลิตอาร์เอ็นเอแอปตาเมอร์ชนิดทนต่อเอนไซม์ nuclease ที่มีความจำเพาะกับเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus suis serotype 2

ทุนวิจัยเงินรายได้คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2560-2561) ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ การทดสอบประสิทธิภาพของ nuclease resistance RNA aptamer ที่ผลิตขึ้น ซึ่งมีความจำเพาะกับเชื้อ Mycobacterium avium

ทุนส่งเสริมกลุ่มวิจัย (เมธีวิจัยอาวุโส สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย) (โดยมี ศ.ดร.วัชระ กสิณฤกษ์ เป็นหัวหน้าโครงการ)(2559 -2562) ระยะเวลา 3 ปี หัวข้อ การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการควบคุมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันและการพัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยโรค

THOHUN-National Coordinating Office (USAID) (2560-2561) ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ Antimicrobial resistance in Enterobacteriaceae among healthy preschool children in Thailand

ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2561 (2560-2561) ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ Real time PCR and high resolution melting (HRM) curve analysis for rapid diagnosis of tuberculosis and multidrug-resistant tuberculosis in Northern Thailand (Phase II)

ทุนงบประมาณเงินรายได้ คณะเทคนิคการแพทย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2560-2561) ระยะเวลา 1 ปี หัวข้อ แบบจําลองทางคอมพิวเตอร์เพื่อการทํานาย และวิเคราะห์ HIV-1 CRF01_AE coreceptor usage

 

ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5 ปีย้อนหลัง (Journal Publications: 2013-2017)

Intorasoot A, Chornchoem P, Sookkhee S, Intorasoot S. Bactericidal activity of herbal volatile oil extracts against multidrug-resistant Acinetobacter baumannii. J Intercult Ethnopharmacol. 2017 Apr 21;6(2):218-222. doi: 10.5455/jice.20170411091159.

Intorasoot S, Tharinjaroen CS, Phunpae P, Butr-Indr B, Anukool U, Intachai K, Orrapin S, Apiratmateekul N, Arunothong S, Suthachai V, Saengsawang K, Khamnoi P, Pata S, Kasinrerk W, Tragoolpua K. Novel potential diagnostic test for Mycobacterium tuberculosis complex using combined immunomagnetic separation (IMS) and PCR-CTPP. J Appl Microbiol. 2016 Aug;121(2):528-38. doi: 10.1111/jam.13157.

Khanpetch P, Intorasoot S, Prasitwattanseree S, Mekjaidee K, Mahakkanukrauh P. Application of Gelatin-Coated Magnetic Particles for Isolation of Genomic DNA from Bones. J Med Assoc Thai. 2015 Jul;98(7):698-702.

Orrapin S, Intorasoot Recombinant expression of novel protegrin-1 dimer and LL-37-linker-histatin-5 hybrid peptide mediated biotin carboxyl carrier protein fusion partner. Protein Expr Purif. 2014 Jan;93:46-53. doi: 10.1016/j.pep.2013.10.010.

Khacha-ananda S, Saenphet K, Saenphet S, Tragoolpua K, Chantawannakul P,Tragoolpua Y.  Evaluation of the stability of propolis granule and toxicity study in Wistar rats. Chiang Mai J Sci. 2018;45(1): 162-76.

Tankaew P, Srisawat W, Singhla T, Tragoolpua K, Kataoka Y, Sawada T, Sthitmatee N. Comparison of two indirect ELISA coating antigens for the detection of dairy cow antibodies against Pasteurella multocida. J Microbiol Methods. 2017 Dec 12;145:20-27. doi:10.1016/j.mimet.2017. 12.005

Poolperm P, Varinrak T, Kataoka Y, Tragoolpua K, Sawada T, Sthitmatee N.Development and standardization of an in-house indirect ELISA for detection of duck antibody to fowl cholera. J Microbiol Methods. 2017 Nov;142:10-14. doi: 10.1016/j.mimet.2017.08.018.

Panich T, Tragoolpua K, Pata S, Tayapiwatana C, Intasai N. Downregulation of Extracellular Matrix Metalloproteinase Inducer by scFv-M6-1B9 Intrabody Suppresses Cervical Cancer Invasion Through Inhibition of Urokinase-Type Plasminogen Activator. Cancer Biother Radiopharm. 2017 Feb;32(1):1-8. doi: 10.1089/cbr.2016.2126.

Khacha-Ananda S, Tragoolpua K, Chantawannakul P, Tragoolpua Y. Propolis extracts from the northern region of Thailand suppress cancer cell growth through induction of apoptosis pathways. Invest New Drugs. 2016 Dec;34(6):707-722.

Kaewkod T, Tragoolpua K, Tragoolpua Y. Encapsulation of Artocarpus lacucha extract in alginate chitosan nanoparticles for inhibition of methicillin resistant Staphylococcus aureus and bacteria causing skin diseases. Chiang Mai J Sci. 2016; 43(5): 946-958.

Intasai N, Pata S, Tragoolpua K, Tayapiwatana C. Recombinant Multivalent EMMPRIN Extracellular Domain Induces U937 Human Leukemia Cell Apoptosis by Downregulation of Monocarboxylate Transporter 1 and Activation of Procaspase-9. Appl Biochem Biotechnol. 2015 Jul;176(6):1781-90. doi: 10.1007/s12010-015-1677-0.

Thammasit P, Sangboonruang S, Suwanpairoj S, Khamaikawin W, Intasai N, Kasinrerk W, Tayapiwatana C, Tragoolpua K. Intracellular Acidosis Promotes Mitochondrial Apoptosis Pathway: Role of EMMPRIN Down-regulation via Specific Single-chain Fv Intrabody. J Cancer. 2015 Jan 20;6(3):276-86. doi: 10.7150/jca.10879.

Sangboonruang S, Thammasit P, Intasai N, Kasinrerk W, Tayapiwatana C, Tragoolpua K. EMMPRIN reduction via scFv-M6-1B9 intrabody affects α3β1-integrin and MCT1 functions and results in suppression of progressive phenotype in the colorectal cancer cell line Caco-2. Cancer Gene Ther. 2014 Jun;21(6):246-55. doi: 10.1038/cgt.2014.24.

Khacha-ananda S, Tragoolpua K, Chantawannakul P, Tragoolpua Y. Antioxidant and anti-cancer cell proliferation activity of propolis extracts from two extraction methods. Asian Pac J Cancer Prev. 2013;14(11):6991-5.

Tipattaraporn Panich, Pacharaphat Mangchak, Supansa Pata, Khajornsak Tragoolpua, Chatchai Tayapiwatana, Nutjeera Intasai. CD147 scFv intrabody-mediated CD147 knockdown inhibits proliferation of human cervical cancer HeLa cells. Bull Chiang Mai Assoc Med Sci 2014; 1(9): 30-6.

Williams-Wietzikoski CA, So ID, Bull ME, Samleerat T, Pathanapitoon K, Kunavisarut P, Kongyai N, Ngo-Giang-Huong N, Frenkel LM, Sirirungsi W. Genetic analyses of HIV env associated with uveitis in antiretroviral-naive individuals. AIDS. 2017 Aug 24;31(13):1825-1830. doi: 10.1097/QAD.0000000000001550.

Hongjaisee S, Braibant M, Barin F, Ngo-Giang-Huong N, Sirirungsi W, Samleerat T. Effect of Amino Acid Substitutions Within the V3 Region of HIV-1 CRF01_AE on Interaction with CCR5-Coreceptor. AIDS Res Hum Retroviruses. 2017 Sep;33(9):946-951. doi: 10.1089/AID.2017.0044.

Phutthakham P., Samleerat T., Sexual behavior and attitudes regarding sexual transmitted disease among foreigners in Chiang Mai City Chiang Mai Province. Journal of Associated Medical Sciences 2017;50(2): 159-167.

Krueyot T., Samleerat T. Knowledge, attitude and risk behavior regarding HPV infection among senior students of Chiang Mai University. Journal of Associated Medical Sciences 2017;50(2): 176-186.

Samleerat T, Hongjaisee S, Phiayura P, Sirirungsi W. HIV-1 coreceptor usage in perinatally infected Thai children. J Med Virol. 2017 Aug;89(8):1412-1418. doi: 10.1002/jmv.24790.

Jourdain G, Ngo-Giang-Huong N, Cressey TR, Hua L, Harrison L, Tierney C, Salvadori N, Decker L, Traisathit P, Sirirungsi W, Khamduang W, Bowonwatanuwong C, Puthanakit T, Siberry GK, Watts DH, Murphy TV, Achalapong J, Hongsiriwon S, Klinbuayaem V, Thongsawat S, Chung RT, Pol S, Chotivanich N. Prevention of mother-to-child transmission of hepatitis B virus: a phase III, placebo-controlled, double-blind, randomized clinical trial to assess the efficacy and safety of a short course of tenofovir disoproxil fumarate in women with hepatitis B virus e-antigen. BMC Infect Dis. 2016 Aug 9;16:393. doi: 10.1186/s12879-016-1734-5.

Sirirungsi W, Khamduang W, Collins IJ, Pusamang A, Leechanachai P, Chaivooth S, Ngo-Giang-Huong N, Samleerat T. Early infant HIV diagnosis and entry to HIV care cascade in Thailand: an observational study. Lancet HIV. 2016 Jun;3(6):e259-65. doi: 10.1016/S2352-3018(16)00045-X.

Chaillon A, Samleerat T, Zoveda F, Ballesteros S, Moreau A, Ngo-Giang-Huong N, Jourdain G, Gianella S, Lallemant M, Depaulis F, Barin F. Estimating the Timing of Mother-to-Child Transmission of the Human Immunodeficiency Virus Type 1 Using a Viral Molecular Evolution Model. PLoS One 2014;9(4).

Collins IJ, Cairns J, Ngo-Giang-Huong N, Sirirungsi W, Leechanachai P, Le Coeur S, Samleerat T, Kamonpakorn N, Mekmullica J, Jourdain G, Lallemant M; Programme for HIV Prevention and Treatment Study Team. Cost-effectiveness of early infant HIV diagnosis of HIV-exposed infants and immediate antiretroviral therapy in HIV-infected children under 24 months in Thailand. PLoS One. 2014 Mar 14;9(3):e91004. doi: 10.1371/journal.pone.0091004.

Khamduang W, Gaudy-Graffin C, Ngo-Giang-Huong N, Jourdain G, Moreau A, Borkird T, Layangool P, Kamonpakorn N, Jitphiankha W, Kwanchaipanich R, Potchalongsin S, Lallemant M, Sirirungsi W, Goudeau A; Program for HIV Prevention and Treatment (PHPT) group. Analysis of residual perinatal transmission of hepatitis B virus (HBV) and of genetic variants in human immunodeficiency virus and HBV co-infected women and their offspring. J Clin Virol. 2013 Oct;58(2):415-21. doi: 10.1016/j.jcv.2013.06.025.

Khamduang W, Ngo-Giang-Huong N, Gaudy-Graffin C, Jourdain G, Suwankornsakul W, Jarupanich T, Chalermpolprapa V, Nanta S, Puarattana-Aroonkorn N, Tonmat S, Lallemant M, Goudeau A, Sirirungsi W; Program for HIV Prevention and Treatment (PHPT-2) group. Prevalence, risk factors, and impact of isolated antibody to hepatitis B core antigen and occult hepatitis B virus infection in HIV-1-infected pregnant women. Clin Infect Dis. 2013 Jun;56(12):1704-12. doi: 10.1093/cid/cit166.

Ratikorn Gamngoen, Chanyanuch Putim, Parichat Salee, Ponrut Phunpae, Bordin Butr-Indr. A comparison of Rv0559c and Rv0560c expression in drug-resistant Mycobacterium tuberculosis in response to first-line antituberculosis drugs. Tuberculosis January 2018;108:64–9.

Putim C, Phaonakrop N, Jaresitthikunchai J, Gamngoen R, Tragoolpua K, Intorasoot S, Anukool U, Tharincharoen CS, Phunpae P, Tayapiwatana C, Kasinrerk W, Roytrakul S, Butr-Indr B. Secretome profile analysis of multidrug-resistant, monodrug-resistant and drug-susceptible Mycobacterium tuberculosis. Arch Microbiol. 2017 Nov 8. doi: 10.1007/s00203-017-1448-0.

Paopang P, Kasinrerk W, Tayapiwatana C, Seesuriyachan P, Butr-Indr B. Multiparameter optimization method and enhanced production of secreted recombinant single-chain variable fragment against the HIV-1 P17 protein from Escherichia coli by fed-batch fermentation. Prep Biochem Biotechnol. 2016;46 (3):305-12. doi: 10.1080/10826068.2015.1031388.

Intachai K, Singboottra P, Leksawasdi N, Kasinrerk W, Tayapiwatana C, Butr-Indr B. Enhanced production of functional extracellular single chain variable fragment against HIV-1 matrix protein from Escherichia coli by sequential simplex optimization. Prep Biochem Biotechnol. 2015;45 (1):56-68. doi: 10.1080/10826068.2014.887580.

Tharinjaroen CS. Tuberculosis diagnosis: From knowledge to innovation in public health. Journal of Associated Medical Sciences. 2017;50 (1):1-21.

Tharinjaroen CS, Intorasoot S, Anukool U, Phunpae P, Butr-Indr B, Orrapin S, et al. Novel targeting of the lepB gene using PCR with confronting two-pair primers for simultaneous detection of Mycobacterium tuberculosis complex and Mycobacterium bovis. Journal of medical microbiology. 2016; 65(1): 36-43.

Roobsoong W, Tharinjaroen CS, Rachaphaew N, Chobson P, Schofield L, Cui L, et al. Improvement of culture conditions for long-term in vitro culture of Plasmodium vivax. Malar J 2015; 14: 297.

Preechasuth K, Anderson JC, Peck SC, Brown AJ, Gow NAR, Lenardon MD. Cell wall protection by the Candida albicans class I chitin synthases. Fungal genetics and biology : FG & B. 2015: 82; 264-76

Walker LA, Lenardon MD, Preechasuth K, Munro CA, Gow NAR. Cell wall stress induces alternative fungal cytokinesis and septation strategies. Journal of Cell Science 2013: 126; 2668-77

Souza-Moreira TM, Severi JA, Lee K, Preechasuth K, Santos E, Gow NAR, Munro CA, Vilegas W, Pietro RC. Anti-Candida targets and cytotoxicity of casuarinin isolated from Plinia cauliflora leaves in a bioactivity-guided study. Molecules 2013: 18; 8095-108

Phunpae P, Chanwong S, Tayapiwatana C, Apiratmateekul N, Makeudom A, Kasinrerk W. Rapid diagnosis of tuberculosis by identification of Antigen 85 in mycobacterial culture system. Diagnostic Microbiology and Infectious Disease 2014;78:242–8.

Saengdee P, Chaisriratanakul W, Bunjongpru W, Sripumkhai W, Srisuwan A, Hruanun C, Poyai A, Phunpae P, Pata S, Jeamsaksiri W, Kasinreak W, Promptmas C. A silicon nitride ISFET based immunosensor for Ag85B detection of tuberculosis. Analyst 2016;141(20):5767-75.

Anukool community- and livestock-associated methicillin-resistant Staphylococcus aureus: a silent threat to Thai public health. Bull Chiang Mai Assoc Med Sci 2013; 46 (3): 187-206.

Rattanamuang M, Butr-Indr B, Anukool U. Livestock-associated methicillin-resistant coagulase-negative staphylococci in pig in Lamphun province, Thailand, carrying type-IX SCCmec Bull Chiang Mai Assoc Med Sci 2013; 46 (3): 250-259.